วันจันทร์ที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555

Net Asset Value หรือ NAV คืออะไร

NAV หรือ Net Asset Value คืออะไร ช่วงนี้เป็นช่วงปลายปี ทุกคนต่างซื้อ LTF RMF กันยกใหญ่ ส่วนใหญ่ทุกคนจะถามว่ากองไหนดี ผมก็มักจะบอกให้ดู NAV ย้อนหลังนั้นเอง ซึ่งถ้ามันขึ้นมาตลอด นั้นก็หมายถึงดีแน่นอน ยิ่งถ้าขึ้นมากกว่า SET หรือ ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ทุกๆ ปี หมายถึงว่า มันเอาชนะตลาดได้ทุกปี ก็หมายถึงความสามารถในการบริหารจัดการดีนั้นเอง แต่ความหมายเป็นอย่างไรนั้น ลองมาดูกันดีกว่าครับ ---------------------

สรุปง่ายๆ NAV หรือ Net Asset Value ของผม คือ ราคามูลค่าในกองทุนนั้นๆ หาร ด้วยจำนวนหุ้นของกองทุน ซึ่งจะเปลียนแปลงได้ตามหลักทรัพย์ที่เพิ่มหรือลด และการจ่ายปันผลออกไปนั้นเองครับ

----------------------------
จาก http://www.investopedia.com/terms/n/nav.asp#axzz2GdXiiKM4

Investopedia explains 'Net Asset Value - NAV'
In the context of mutual funds, NAV per share is computed once a day based on the closing market prices of the securities in the fund's portfolio. All mutual funds' buy and sell orders are processed at the NAV of the trade date. However, investors must wait until the following day to get the trade price.

Mutual funds pay out virtually all of their income and capital gains. As a result, changes in NAV are not the best gauge of mutual fund performance, which is best measured by annual total return.

Because ETFs and closed-end funds trade like stocks, their shares trade at market value, which can be a dollar value above (trading at a premium) or below (trading at a discount) NAV.

Read more: http://www.investopedia.com/terms/n/nav.asp#ixzz2GdhitfRh


ในกองทุนนั้น NAV ต่อหน่วย ถูกรวมไว้ภายในหนึ่งวัน โดยใช้ฐานจากราคาปิดของราคาตลาดของหลักทรัพย์ใน Port ของกองทุน โดยกองทุนนั้น จะซื้อหรือขายตามกระบวน ซึ่งจะกลายเป็น NAV ประจำวันนั้นๆไป อย่างไรก็ตาม นักลงทุนต้องคอยจนถึงหมดวัน เพื่อทราบราคา ณ วันนั้น

การที่กองทุนจ่ายเงินไม่ว่า เป้นรายได้ หรือ ส่วนทุนเพิ่ม จะส่งผลกระทบต่อ NAV ซึงไม่ดีต่อประสิทธิภาพของกองทุนในการวัดผลประจำปี

เพราะ ETF และ กองทุนที่ปิดไปแล้ว จะซื้อขายเหมือนหุ้น ซึ่งจะมีราคาตามตลาดที่สามารถ ปรับขึ้นหรือลงได้




Definition of 'Net Asset Value - NAV'

A mutual fund's price per share or exchange-traded fund's (ETF) per-share value. In both cases, the per-share dollar amount of the fund is calculated by dividing the total value of all the securities in its portfolio, less any liabilities, by the number of fund shares outstanding.

Read more: http://www.investopedia.com/terms/n/nav.asp#ixzz2GdhpaQKR


ราคาของกองทุน หรือ ราคาของ ETF ต่อหน่วย ทั้งคู่มีราคาที่คำนวณมาจากการหารมูลค่าหลักทรัพย์ทั้งหมดใน Portfolio โดยมีจำนวน หุ้นในการทุนเป้นตัวแสดงประสิทธิภาพนั้นเอง

วันเสาร์ที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2555

อายุลูกหนี้ Accounts Receivable Aging

การดูอายุลูกหนี้ (Accounts Receivable Aging) เป็นรายงานตัวหนึ่งที่ฝ่ายการเงินใช้แสดงรายงานทุกที่ แสดงการแบ่งช่วงอายุของลูกหนี้เห็นได้ชัดเจน โดยส่วนใหญ่จะแบ่งอายุลูกหนี้เป็นช่วงอายุ 

30วัน
60วัน90วัน
180วัน
มากกว่า270วัน
เป็นต้นนะครับ

ตัวอย่าง คร่าวๆ รายงานจะแบ่งยอดหนี้ตามไว้แต่ละช่วงอายุและลูกหนี้แต่ละราย



อีกตัวอย่างจากบริษัทแห่งหนึ่ง หาดูได้ตามบัญชีงบการเงินในตลาดหลักทรัพย์ อันนี้บอกสำหรับนักลงทุนว่าบริษัทที่เราต้องากรลงทุน มีหนี้คงค้างเท่าไร

 นอกนั้นจะเป็นสิ่งที่ผมหาความหมายจากที่อื่นๆ นะครับ

-----------------------------------------------------------


รายงานที่เป็นช่วงซึ่งแบ่งประเภทตามลูกหนี้ของบริษัท โดยแบ่งเป็นช่วงเวลากว้างๆ ตามเวลาของใบแจ้งหนี้นั้นๆ อายุลูกหนี้ (Accounts Receivable Aging) เป็นเครื่องมือการจัดการที่สำคัญ ทั้งในการวิเคราะห์ เพื่อตรวจสอบสภาพการเงินทางบริษัทได้อย่างดี

A periodic report that categorizes a company's accounts receivable according to the length of time an invoice has been outstanding. Accounts receivable aging is a critical management tool as well as an analytic tool that helps determine the financial health of a company's customers, and therefore the health of their business.

Read more: http://www.investopedia.com/terms/a/accounts-receivable-aging.asp#ixzz25wYFnpzn


-----------------------------------------------------------------
อายุลูกหนี้แสดงการเก็บว่าช้ากว่าปกติหรือไม่ ถ้าแสดงว่าการเก็บเงินได้ช้า ซึ่งทำให้การบริหารความเสี่ยงเชิงให้เครดิตในการขายให้

เครื่องมืออายุลูกหนี้ (Accounts Receivable Aging) นี้เป็นตัววัดให้กับลูกค้าที่ไม่ได้ เครดิตดี และสามารถช่วยให้บริษัทนั้นตัดสินใจเกี่ยวกับลูกค้าในรายนั้นๆ
  
If an accounts receivable aging demonstrates that a company's receivables are being collected much slower than normal, this is a warning sign that business may be slowing down or that the company is taking greater credit risk in its sales practices.

As a management tool, accounts receivable aging may indicate that certain customers are not good credit risks. It can therefore help a company make prudent decisions about whether or not to keep doing business with customers that are chronically late payers.

Read more: http://www.investopedia.com/terms/a/accounts-receivable-aging.asp#ixzz25wYJAjBi

-------------------------------------------------------------------------

อายุลูกหนี้ (Accounts Receivable Aging) คือ รายงานที่แสดงบัญชีลูกหนี้โดยรวมช่วงของเวลาที่ลูกหนี้ยังมีผล โดยส่วยใหญ่จะแบ่งช่วงไว้เป้น ปัจจุบัน 30วัน 60วัน 90วัน และมากกว่า 120วัน
Accounts Receivable Aging is a report showing the accounts receivable (the amounts owed to the company by its customers), and also including the length of time the amounts have been outstanding. Typically, the aging report categorizes receivables as "current," "30 days," "60 days," "90 days," and "120 days and over." The purpose of this report is to show the business owner what receivables need to be dealt with more urgently because they have been overdue longer.
http://biztaxlaw.about.com/od/glossarya/a/receivableaging.htm

วันพุธที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2555

CAPEX

CAPEX

Capital expenditure คือ ค่าใช้จ่ายด้านการลงทุน ของแต่ละบริษัท ซึ่งการที่แต่ละบริษัทต้องลงทุนเพิ่มนั้น เพื่อต้องการประสิทธิที่ดีของการทำกำไรและรายได้

ส่วนใหญ่ที่จะเห็นได้จะเป็นโครงการต่างๆ ซึ่งถ้ามี ค่าใช้จ่ายด้านการลงทุน Capital expenditure CAPEX นั้น ก็พอมั่นใจได้ว่าบริษัทนี้ยังมีการเติบโตแน่นอน 

ผมลองหาคำนิยามจากที่อื่นๆ มาประกอบคำอธิบายนะครับ
--------------------------------------------------------------------------------------
http://en.wikipedia.org/wiki/Capital_expenditure
Capital expenditures (CAPEX or capex) are expenditures creating future benefits. A capital expenditure is incurred when a business spends money either to buy fixed assets or to add to the value of an existing fixed asset with a useful life extending beyond the taxable year.
Capital expenditures  (CAPEX หรือ capex) คือ ค่าใช้จ่ายเพื่อประโยชน์ในอนาคต ซึ่่ง ค่าใช้จ่ายด้านการลงทุนคลุมถึงการใช้เงินทางธุรกิจ เพื่อซื้อสินทรัพย์ถาวร หรือ เพิ่มมูลค่าหรือซ่อมกับสินทรัพย์ที่มีอยู่แล้ว ก่อนปีภาษี




http://www.investopedia.com/terms/c/capitalexpenditure.asp
Funds used by a company to acquire or upgrade physical assets such as property, industrial buildings or equipment. This type of outlay is made by companies to maintain or increase the scope of their operations. These expenditures can include everything from repairing a roof to building a brand new factory.

เงินทุนที่ใช้โดยบริษัทเพื่อได้มาหรือเสริมประสิทธิภาพของสินทรัพย์ที่มีตัวตนเช่น อสังหาริมทรัพย์ ตึก อาคาร อุปกรณ์ ของประเภทเหล่านี้คือสิ่งที่บริษัทสร้างขึ้นเพื่อบำรุงรักษา หรือ ทำให้ขอบเขตการทำงานมากจึ้น โดยค่าใช้จ่ายนี้รวมถึงทุกอย่างที่ต้องซ่อมจากหลังคาตึกถึงการสร้างโรงงานใหม่

Read more: http://www.investopedia.com/terms/c/capitalexpenditure.asp#ixzz1yAFABcnj

วันอังคารที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

Material Requirements Planning (MRP)

เรื่องของการทำ Material Requirements Planning (MRP) หรือการวางแผนวัตถุดิบ ไม่ว่าใช้ในด้านการขาย การผลิตสินค้า นั้นเป็นสิ่งสำคัญของธุรกิจหลายประเภทไม่ว่าจะซื้อมาขายไป หรือว่า เป็นพวกผลิตเพื่อขาย

เพื่อให้เห็นภาพในการทำธุรกิจ พวกสินค้าคงคลังนั้น ต้องมีน้อยที่สุด แต่ต้องมีมีน้อยที่สุดเท่ากับเพื่อให้ผลิต หรือ เพื่อขายเท่านั้น  เพราะการจัดการ สินค้าคงคลังถือเป็นต้นทุน การซื้อสินค้าก็มีต้นทุน เพื่อทำให้ต้นทุนเหมาะสมที่สุดกับการผลิต ต้องมี Material Requirements Planning (MRP) หรือการวางแผนวัตถุดิบ เพื่อจัดการต้นทุนที่ดี

แต่ถ้าสินค้าคงคลังไม่มีเลย ก็เป็นปัญหาอีก เพราะไม่สามารถผลิตได้และทำให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น ทั้งด้านเวลา และ ต้นทุนเงิน ทำให้มีแนวคิดเรื่องการวางแผนจัดการกับวัตถุดิบขึ้น จึงมีการสร้างแนวคิดของ Material Requirements Planning (MRP) เพื่อจัดการวางแผนวัตถุดิบ

ซึ่่งถ้าเราทำการวางแผนได้ ก็จะทำให้สินค้าคงคลังและคลังสินค้า ไม่ต้องการเป็นต้นทุน

โดย MRP นั้น เป็นระบบที่ใช้ในอุตสาหกรรม

-----------------------------------------------------------
Material requirements planning (MRP) คือ ระบบวางแผนการผลิตและระบบควบคุมสินค้าคงคลังใช้ในกระบวนการจัดการการผลิต
Material requirements planning (MRP) is a production planning and inventory control system used to manage manufacturing processes.
http://en.wikipedia.org/wiki/Material_requirements_planning


 Material Requirements Planning (MRP) คือ ระบบจัดการคลังสินค้าที่ที่ออกแบบมาเพื่อจัดการสินค้าในตารางเวลาและตามคำสั่งซื้อตามความต้องการ โดยความต้องการของคือองค์ประกอบของสินค้า เช่น วัตถุดิบ ส่วนประกอบ เป็นต้น
สำหรับจำนวนของสินค้าคงคลังที่ต้องการนั้น ขึ้นอยู่กับ ระดับของสินต้า เช่น โรงงานจักรยาน ความต้องการคลังสินค้า เชน ตัวถัง ยาง ที่นั่ง โซ่

Material requirements planning (MRP) is a computer-based inventory management system designed to assist production managers in scheduling and placing orders for items of dependent demand. Dependent demand items are components of finished goods—such as raw materials, component parts, and subassemblies—for which the amount of inventory needed depends on the level of production of the final product. For example, in a plant that manufactured bicycles, dependent demand inventory items might include aluminum, tires, seats, and bike chains.
http://www.inc.com/encyclopedia/material-requirements-planning-mrp.html